วักกัง “ไต” แล้วทำไม ไปเรียกม้ามเรียกกันผิด ก็ผิดตาม อยู่อย่างนั้นปิหะกัง เรียกว่าไต ทำไมกันก้อน”ม้าม”นั้น เรียกเสียใหม่ ให้ถูกควรคราเผลอผิด ยึดติดกัน ไม่ทันเฉลียวครั้นจะแก้ แค่นิดเดียว ลำบากล้วนปล่อยตามเลย เฉยตามกัน มิทันทวนจึงความหมาย กลายเรรวน มาข้านาน วกุกํ (บาลี) = “ไต”วกุกนฺติ เอกพนุธนา เทว มํสปิณฺฑิกาคำว่า วักกัง ได้แก่ก้อนเนื้อสองก้อนมีขั้วเดียวกัน (คือมีเส้นเลือดแดงใหญ่เส้นเดียวกัน เข้าเลี้ยงที่ขั้วไตทั้งสอง)ด้วณฺณโด มนุทรดุติ ปาลิภทุทกฏฐิวณุณ์(โดยสี) วักกังนั้น สีแดงอ่อน ดุจสีเม็ดทองหลางป่าสณฐานโด ทารกานํ ยมกกีฬาโคพักสณฐานํเอกาณฺฏปฏิพทฺธอมฺพผลทฺวยสณฐานํ วา(โดยสัญฐาน) มีลักษณะคล้ายลูกสะบ้าคู่ที่เด็กๆ เล่น หรือคล้ายผลมะม่วงแฝด ติดอยู่ในข้วเดียวกันโอกาสโต คลวาฏกา นิกฺขนฺเตน เอกมูลเลน โถกํคนฺตวา ทวิธา ภินฺเนน กูลนุหารุนา วินิพนฺธํ หุตฺวาหทยมํสํ ปริกฺขิปิตฺวา ฐิตํ(โดยช่องที่อยู่) วักกะเป็นก้อนเนื้อมีเอ็นใหญ่ (เส้นเลือดแดงใหญ่) รัดไว้… Continue reading วักกัง = ไต : ปิหะกัง = ม้าม